2 ใช้ปั้นจั่นตอก 10 ครั้งแล้ววัดระยะการทรุดตัว ทำซ้ำกัน 3 รอบ การทรุดตัวที่วัดได้จะต้องไม่เกินค่าที่ผู้ออกแบบกำหนด ถือว่าเสร็จสิ้นการตอกเสาเข็มต้นนั้น และจะถูกดำเนินคดีตามกฏหมาย........................................................................................

AutoCAD 2019 แบบบ้าน 2ชั้น ตอน2 แปลนฐานรากแผ่ - YouTube

  • นายช่างชวนรู้ ฐานรากแผ่ l แบบบ้าน สวย รับสร้างบ้าน พิษณุโลก
  • ราคา license windows server 2012 iso
  • สอบถามเรื่องฐานรากของบ้าน 2 ชั้นค่ะ - Pantip
  • ฐานราก แผ่ บ้าน 2 ชั้น 4 ห้องนอน 4 ห้องน้ำ

ทรงไทยร่วมสมัย

ฐานราก แผ่ บ้าน 2 ชั้น สวย

ไทยประยุกต์ร่วมสมัย

มีชาน

2 ตรวจสอบความลึกหรือระดับดินก้นหลุมก่อนหนึ่งครั้ง เมื่อระดับดินขุดได้แล้วจะทำการบดอัดทรายหรือกรวด เพื่อให้ดินแน่นสามารถรับน้ำหนักได้ดีขึ้น 3. 3 เมื่อบดอัดดินจนแน่นแล้วทำการตรวจสอบระดับดินที่บดอัดจนแน่นของฐานราก จากนั้นเทคอนกรีตหยาบ (lean concrete) ทับบนทรายบดอัดแน่นความหนาของคอนกรีตหยาบเป็นไปตามแบบก่อสร้าง การเทคอนกรีตหยาบก่อนวางฐานรากจะช่วยป้องกันการกัดเซาะของน้ำใต้ฐานรากได้ 3. 4 เมื่อเทคอนกรีตหยาบเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนต่อไปติดตั้งแบบหล่อฐานรากจะใช้แบบหล่อไม้ หรือแบบหล่อเหล็ก หรือก่ออิฐเป็นแบบหล่อก็ได้ รวมทั้งค้ำยันให้แข็งแรง งานฐานรากที่ก่อสร้างบนดินเหนียวลักษณะเป็นดินเลน มีปัญหาเรื่องการค้ำยันและแบบเทคอนกรีตแตกควรเทคอนกรีตหยาบรองพื้น ก่อนทำการค้ำยันแบบเพื่อสามารถยึดค้ำยันให้แข็งแรง 3. 5 วางเหล็กเสริมฐานราก และเสาตอม่อ ในขั้นตอนนี้ต้องตรวจสอบศูนย์กลางเสาตอม่อ ขนาดและระยะงอของเหล็กเสริมต้องเป็นไปตามแบบก่อสร้างหรือมาตรฐาน ว. ส. ท. ระยะหุ้มคอนกรีตถึงผิวเหล็กอย่างน้อย 7. 5 ซม. 3. 6 เทคอนกรีตฐานราก ก่อนเทคอนกรีตต้องทำความสะอาด หาระดับการเทคอนกรีตโดยใช้กล้องระดับหาระดับเทียบกับระดับอ้างอิงให้ได้ความหนาของฐานรากตามที่ต้องการ และราดน้ำปูนในแบบหล่อก่อน จากนั้นจึงเทคอนกรีตโดยที่กำลังของคอนกรีต และค่าการยุบตัว (Slump) ได้ตามที่ระบุไว้ในแบบ และต้องมีการเก็บตัวอย่างคอนกรีตที่เทเพื่อตรวจสอบกำลังอัด 3.

2 ถ้าเป็นอาคารที่มีน้ำหนักบรรทุกไม่มากนักหรือบ้านพักอาศัย หากพบว่าดินที่ใช้ก่อสร้างเป็นดินทราย สามารถใช้เครื่องสั่นสะเทือนกระแทกให้ดินที่จะวางฐานรากแน่นเสียก่อน จะสามารถใช้ฐานรากแบบแผ่ได้ ซึ่งจะช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายได้ 1. 3 ในกรณีที่ดินใต้ฐานรากเป็นลักษณะดินอ่อนไม่ควรใช้ฐานแต่ถ้าเปรากแผ่ ควรใช้ฐานรากที่มีเสาเข็มดีกว่าเพราะสามรถรับน้ำหนักได้ดีกว่า และลดการทรุดตัวเมื่อเวลาผ่านไป บางครั้งดินบางจุดแข็ง บางจุดอ่อน ซึ่งส่วนนี้ต้องระวังอาจเกิดการทรุดตัวที่ไม่เท่ากัน จะทำให้บ้านหรืออาคารพังทลายได้ 2. การกำหนดความลึกของฐานราก ความลึกของฐานรากแผ่ จะต้องพิจารณาถึงค่าใช้จ่ายและความสะดวกในการก่อสร้างเป็นหลัก เพราะถ้าฐานรากมีความลึกมาก ๆ ทำให้สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการขุดดินแล ะขั้นตอนการก่อสร้างจะทำได้ลำบาก โดยประมาณความลึกของฐานรากจากผิวดินควร น้อยกว่าหรือเท่ากับความกว้างของฐานรากนั้น ๆ อย่างไรก็ดีอาจเปลี่ยนแปลงได้ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติของ ดิน 3. ขั้นตอนการทำฐานรากแผ่ 3. 1 ขุดดินให้มีความลึก ขนาด และตำแหน่งของถูกต้องตามแบบก่อสร้างโดยใช้แรงงานคนหรือเครื่องจักร ในการขุดดินนั้นต้องเผื่อการบดอัดทรายหรือกรวด เทคอนกรีตหยาบ (lean concrete) เผื่อการเข้าแบบด้านข้าง ถ้าดินมีลักษณะอ่อนตัวเป็นดินเหลวเป็นโคลน ให้ขุดดินอ่อนออกจนหมดแล้วใช้ทรายถม หากดินไม่เหลวมากให้เทคอนกรีตหยาบเพื่อรองรับเหล็กเสริมที่จะทำฐานราก หรือออกแบบฐานรากให้สูงขึ้น ในกรณีที่ดินลื่นไถลอาจขุดดินให้มีความลาดเพื่อป้องกันดินพังทลาย หรือใช้แผ่นเหล็กหรือวัสดุอื่นที่สามารถนำมาตอกโดยรอบ เพื่อป้องกันดินพังทลายลงในขณะก่อสร้างฐานรากด้วย 3.