% ให้กินน้ำตาลถ้าน้ำตาลในเลือดต่ำกว่า100มก. % ตรวจน้ำตาลก่อนและหลังออกกำลังกาย เตรียมน้ำตาลไว้ขณะออกกำลังกาย ปรับการฉีด insulin และอาหารเพื่อป้องกันภาวะน้ำตาลต่ำ แนวทางออกกำลังกายอย่างปลอดภัยในผู้ป่วยเบาหวาน ปรึกษาแพทย์และได้รับการตรวจร่างกายจากแพทย์อย่างละเอียด ผู้ป่วยต้องมีป้ายแสดงตัวว่าเป็นเบาหวานติดตัวไว้เสมอ ควบคุมน้ำตาลไม่ให้สูงเกินไป คือไม่เกิน 250 มก. %ในเบาหวานชนิดที่1 ไม่เกิน 300 มก.

การออกกำลังกายสำหรับผูู้เป็นเบาหวานและสูงอายุ (2) - YouTube

  • การออกกำลังกาย สำหรับผู้ป่วยเบาหวาน - YouTube
  • Mio 125 มือ สอง ราคา
  • ขาย bmw e36 วาง jz engine
  • ร้านเพชรเสี่ยโชค เจ.เจ.มอลล์ จตุจักร, Bangkok (0629530004)
  • ยา สระ ผม love beauty and planet body lotion
  • โกลเด้น ทาวน์ วิภาวดี-แจ้งวัฒนะ
  • 10 อันดับสบู่เหลวกลิ่นหอมสุดฟิน ตัวหอมติดผิวทั้งวัน!
  • Share folder ใน google drive

การออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวาน ให้ผลคล้ายกับการทำงานของฮอร์โมนอินซูลิน ซึ่งช่วยนำน้ำตาลในเลือดออกไปใช้ที่กล้ามเนื้อได้ดีขึ้น ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดลดลง >>ขั้นตอนการออกกำลังกาย ประกอบด้วย 3ขั้นตอน เหมือนการออกกำลังกายปกติ 1. Warm up 2. Training zone exercise 3. Cool down >> หลักการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวาน ยึดตามหลัก FITT เช่นกัน มีรายละเอียดดังนี้ • Frequency: 1. อย่างน้อย 3ครั้ง/สัปดาห์ วันที่หยุดพักไม่ควรเกิน 2วัน • Intensity: 1. ระดับหนักพอควร (40-59% ของชีพจรสำรอง) • Time: 1. 30 นาที/วัน หรือ 150 นาที/สัปดาห์ 2. สามารถแบ่งรอบสะสมได้ โดยแต่ละรอบควรถึงระดับหนักพอควร อย่างน้อย 10นาที • Type: 1. การออกกำลังแบบแอโรบิค (การออกกำลังที่มีการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ทำงานอย่างต่อเนื่องเช่น เดินเร็ว, ปั่นจักรยาน, ว่ายน้ำ) 2. ** การออกกำลังแบบมีแรงต้าน เช่น ใช้ดัมเบล, ยางยืด, ออกกำลังด้วยเครื่องออกกำลังมีแรงต้าน หากทำร่วมกับการออกกำลังแบบแอโรบิค จะช่วยให้ผลในการควบคุมน้ำตาลในเลือดได้ดียิ่งขึ้น ควรทำ 2 วัน/สัปดาห์ (ไม่ควรทำติดกัน 2วัน) ท่าละ 5-10 ครั้ง และ 3-4 sets ** หลีกเลี่ยงการทำท่าที่ต้องเกร็งค้างไว้และไม่ควรใช้แรงต้านที่มากเกินไป >> หลักการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวาน ยึดตามหลัก FITT เช่นกัน มีรายละเอียดดังนี้ 1.

4 วิธี ออกกำลังกายง่ายๆ ของผู้ป่วยเบาหวาน - Thaihealth.or.th | สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

0 2265 7777 ให้คะแนนบทความนี้ [คะแนนบทความนี้: 2. 6]

ยืดกล้ามเนื้อรอบหัวไหล่ เพื่อป้องกันการไหล่ติดด้วย หายใจเข้า ยื่นมือขึ้นสูงออกไปด้านหน้า ทำมือเหมือนหยิบสิ่งของ และหายใจเข้า ทำแบบเดิมแต่หันตัวไปหยิบทางด้านหลัง ท่านี้ทำทั้งหมด 10 ครั้ง เพียงลดหรือเลี่ยงอาหารที่มีรสชาติหวาน เคลื่อไหวร่างกายเพิ่มขึ้น ออกกำลังกายสม่ำเสมอ ก็ช่วยป้องกัน และรักษาโรคเบาหวานได้แล้ว

การยืดกล้ามเนื้อ 2 การเสริมสร้างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ 3. ฝึกหายใจและสมาธิ 4. การทรงตัว ส่งเสริมการทรงตัวที่ดี 5.

การออกกำลังกาย สำหรับผู้ป่วยเบาหวาน - YouTube

การออกกำลังกาย สำหรับผู้ป่วยเบาหวาน - YouTube

| วันที่ 02 พฤษภาคม 2559 | อ่าน: 90, 880 เรื่องโดย: ปิยวรรณ นาทุ่งนุ้ย Team Content ภาพประกอบจาก: สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี คนไทยมีแนวโน้มที่จะเป็นโรคเบาหวานเพิ่มมากขึ้นทั้งชายหญิง และผู้สูงอายุ โดยเฉพาะปัจจุบันหนุ่มสาวในวัยทำงานก็เสี่ยงต่อการเป็นโรคมากกว่าวัยอื่นๆ นพ. ประสิทธิ์ ลีวัฒนภัทร อ าจารย์ประจำ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล บอกว่า สังคมเมือง หรือคนที่นั่งทำงานในออฟฟิตเป็นเวลานานติดต่อกันเกิน 8 ชม. แล้วไม่ได้ออกกำลังกายจะเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวานและโรคแทรกซ้อน ดังนั้น จึงควรมีการขยับร่างกาย บริหารตัวเอง และออกกำลังกายบ้าง นพ. ประสิทธิ์ บอกอีกว่า ควรเลี่ยงอาหาร และเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของน้ำตาลเป็นส่วนประกอบ โดยเฉพาะ ชา กาแฟ ซึ่งเป็นเครื่องดื่มยอดนิยมของคนวัยทำงาน ในส่วนผสมของกาแฟนั้นจะมีทั้งนมและน้ำตาล คนที่ยังไม่เป็นเบาหวานหรือมีน้ำหนักตัวเยอะอยู่แล้วถ้ายิ่งดื่มเครื่องดื่มที่ใส่น้ำตาลและนมมาก เช่น ชาเย็น กาแฟเย็น น้ำหวาน น้ำอัดลม และไม่ ออกกำลังกายจะยิ่งทำให้เกิดโรคอ้วน และร่างกายเสี่ยงต่อการดื้ออินซูลิน จนทำให้เกิดโรคเบาหวานตามมาได้ อาจารย์ประจำภาควิชาอายุรศาสตร์ จึงแนะนำ วิธีการเลือกรับประทานอาหารแบบง่ายๆ สำหรับคนที่ยังไม่เป็นเบาหวาน และเป็นเบาหวาน ดังนี้ 1.

คนที่ยังไม่เป็นโรคเบาหวาน ควรเลี่ยงอาหารที่มีรสชาติหวาน มัน เค็ม หรือถ้าไม่สามารถเลี่ยงได้ก็ลดปริมาณอาหารลงในแต่ละมื้อ อย่างเช่น ในมื้อเช้าถ้าดื่มกาแฟ ชาเย็น หรือขนมหวาน ควรลดปริมาณอาหารในมื้อถัดไป 2.

การออกกำลังกายสำหรับผูู้เป็นเบาหวานและสูงอายุ (2) - YouTube