2 แสดงการแบ่งร่างกายตามระนาบ (ที่มา:) 1. ศัพท์ที่ใช้ในการอธิบายตำแหน่งส่วนต่างๆ ของร่างกาย (Directional Terms) ที่สำคัญ ในการบอกตำแหน่งของอวัยวะ หรือโครงสร้างของร่างกายจำเป็นต้องมีศัพท์ที่ใช้อธิบายความสัมพันธ์ของส่วนต่างๆ ในขณะอยู่ใน anatomical position และใช้เปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้าง 2 อย่าง เช่น ข้อศอกอยู่ใกล้ลำตัว ( proximal) เมื่อเปรียบเทียบกับข้อมือ ข้อมืออยู่ไกลลำตัว ( distal) เมื่อเปรียบเทียบกับข้อไหล่เป็นต้น ( ภาพที่ 1. 3) 1. Superior หมายถึง ข้างบน 2. Inferior หมายถึง ข้างล่าง 3. Anterior หมายถึง ส่วนหน้า 4. Posterior หมายถึง ส่วนหลัง 5. Dorsal หมายถึง ส่วนหลัง หรือ ด้านหลัง 6. Ventral หมายถึง ส่วนหน้า ด้านหน้า หรือ ด้านท้อง 7. Cranial หมายถึงใกล้ศีรษะมากกว่า 8. Cephalic หมายถึงใกล้ศีรษะมากกว่า 9. Caudal หมายถึงใกล้เท้ามากกว่า 10. Medial หมายถึง ด้านใน หรือด้านใกล้แนวกลางลำตัว 11. Lateral หมายถึง ด้านข้าง 12. Proximal หมายถึง ใกล้ลำตัว หรือส่วนต้น 13. Distal หมายถึง ไกลลำตัว หรือส่วนปลาย 14. Superficial หมายถึง ใกล้ผิว หรือตื้น 15. Deep หมายถึง ลึก ภาพที่ 1. 3 แสดงศัพท์ที่ใช้ในการอธิบายตำแหน่งส่วนต่างๆ ของร่างกาย (ที่มา: /) 2.

เชิงกรานแคบ คลอดเองได้ไหม คนตัวเล็กคลอดลูกเองได้ไหม หรือต้องผ่าคลอด

  1. โปรแกรม autocad 2007 64 bit.ly
  2. การตรวจร่างกาย ตอนที่ 41 - บทความสุขภาพ โดยมูลนิธิหมอชาวบ้าน
  3. สระ ผม ด้วย น้ำ โซดา
  4. Here you are แปล ไทย go

การตรวจท้อง (Abdomen) (การคลำ มีทั้งการคลำตื้น และ การคลำลึก …

5 (ซ้าย) แสดงการงอ ( flexion) ข้อเข่า และงอข้อไหล่ ข้างขวา (ขวา) และกำลังเหยียด ( extension) ข้อเข่าของขาขวา (ที่มา: Marieb, 2003) ภาพที่ 1. 6 แสดงการก้มศีรษะ ( neck flexion) และ เงยศีรษะ ( neck extension) และเงยมากกว่าปกติ ( neck hyperextension) (ที่มา: Marieb, 2003. ) ภาพที่ 1. 7 แสดงการงอลำตัว ( trunk flexion) และเหยียดลำตัวไปด้านหลัง ( trunk hyperextension) ภาพที่ 1. 8 แสดงการกระดกปลายเท้าขึ้น ( Dorsiflexion) และการกดฝ่าเท้าลง (Plantar flexion) 3. Abduction คือ การกาง เป็นการเคลื่อนไหวของส่วนร่างกายในแนว coronal plane ออกจาก sagittal plane เช่น การกางแขน การกางขา 4. Adduction คือการหุบ กาง เป็นการเคลื่อนไหวของส่วนร่างกายในแนว coronal plane เข้าหา sagittal plane เช่น การหุบแขน การหุบขา และ การหุบนิ้ว 5. Circumduction คือ การหมุนเป็นวงกลมเป็นการเคลื่อนไหว flexion- abduction- extension-adduction ต่อเนื่องกัน ( ภาพที่ 1. 9) ภาพที่ 1. 9 แสดงการกางแขน ( abduction) หุบแขน ( adduction) และ หมุนแขนเป็นวงกลม ( circumduction) ของข้อไหล่ 6. Pronation คือ การคว่ำ เช่นการคว่ำมือ 7. Supination คือ การหงาย เช่นการหงายมือ ( ภาพที่ 1.

การตรวจร่างกาย ตอนที่ 41 - บทความสุขภาพ โดยมูลนิธิหมอชาวบ้าน

กระหม่อมหน้า (Anterior fontanelle) ปิดเชื่อมเป็น Suture เมือ. อายุประมาณ 2 ขวบ 2. กระหม่อมหลัง (Posterior fontanelle) ปิดเชื่อมเป็น Suture เมือ. อายุประมาณ 2 เดือน 3. กระหม่อมข้างด้านหน้า (Anterolateral fontanelle) และกระหม่อมข้างด้านหลัง (Posterolateral fontanelle) ปิดเชื่อมเป็น Suture เมือ. อายุ 2 – 3 เดือน รอยต่อของกะโหลกศีรษะ (Suture) 1. Sagittal suture เป็นรอยต่อตรงกลางศีรษะระหว่างกระดูกกระดูกข้างศีรษะ (Parietal bones) ทั้ง 2 ชิ้น 2. Coronal suture เป็นรอยต่อข้างหน้าระหว่างกระดูกหน้าผาก (Frontal bone) และกระดูก ข้างศีรษะ (Parietal bone) 3. Squamous suture เป็นรอยต่อด้านข้างระหว่างกระดูกข้างศีรษะ (Parietal bone) และ กระดูกขมับ (Temporal bone) 4. Lomboidal suture เป็นรอยต่อระหว่างกระดูกท้ายทอย (Occipital bone) กับกระดูกข้าง ศีรษะ (Parietal bone) กระดูกโคนลิ้น (Hyoid bone) เ ป็นกระดูกรูปแปลก มีรูปคล้ายเกือกม้า ตั้ง อยู่ทีโคนลิ้น 7 ข้างหน้าของคอเหนือลูกกระเดือก (Adam's apple) กระดูกนี้ลอยอยู่เฉยๆไม่ได้ติดต่อกับกระดูกอื่นเป็นที่ยึดเกาะของกล้ามเนื้อลิ้น และ กล้ามเนื้อมัดอื่นด้วย กระดูกลำตัว (Axial skeletal) ประกอบด้วยกระดูก 51 ชิน 7 ได้แก่ 1.

การประเมินสุขภาพบริเวณช่องท้อง (abdominal) (การแบ่งช่องท้องเป็น 9 ส่วน…

กระดูกสันจมูก (Nasal bone) เป็นกระดูกแบบ 2 ชิ้น ประกอบกันเป็นสันจมูก ส่วนบนติดต่อกับกระดูกหน้าผาก และด้านข้างติดกับกระดูกขากรรไกรบน 2. กระดูกแบ่งกั้นโพรงจมูกส่วนล่าง (Vomer bone) เป็นกระดูกแบน 1 ชิ้น ประกอบกันเป็นสันจมูกข้างในกั้นช่องจมูกทั้ง 2 ข้าง 3. กระดูกข้างในจมูก (Inferior nasal concha) เป็นกระดูกรูปแปลก 2 ชิ้น มีลักษณะเป็นเกลียวอยู่ที่ผนังด้านข้างของช่องจมูก 4. กระดูกข้างถุงน้ำตา (Lacrimal bones) เป็นกระดูกแบนชิ้นเล็ก 2 ชิ้น ตั้งอยู่ที่โคนของจมูกใกล้ด้านในของเบ้าตา กระดูกนี้ช่วยทำเป็นร่อง (Groove) เพื่อเป็นที่ตั้งของถุงน้ำตา เป็นกระดูกที่บางมาก 5. กระดูกโหนกแก้ม (Zygomatic or Malar bone) เป็นกระดูกรูปแปลกมี 2 ชิ้น ประกอบกันเป็นส่วนนูนของแก้มด้านนอกและพื้นที่ของเบ้าตาด้วย ส่วนโค้งของกระดูกโหนกแก้มจะยื่นไปข้างหลังติดต่อกับ Zygomatic process ของกระดูกขมับ 6. กระดูกเพดาน (Palatine bone) เป็นกระดูกรูปแปลก 2 ชิ้น ส่วนบนประกอบเป็นผนังล่างของเบ้าตา ส่วนล่างกระดูกทั้ง 2 ชิ้นจะมาชิดติดกัน ประกอบเป็นเพดานปาก (Palate) ส่วนที่กระดูก 2 ชิ้นมาต่อกันนี้ทำให้เป็นพื้นของช่องจมูกด้วย 7.

  1. ออ น เซ็น กรุงเทพ ราคา
  2. ห้อง ครัว ไทย สไตล์ ล อ ฟ ท์
  3. เชื่อม ต่อ ทีวี กับ ไวไฟ