รายนามคณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขระดับอำเภอ (คปสอ. )ด่านซ้าย ประจำปี 2555 คำสั่งจังหวัดเลยที่ 1293/2555 ลงวันที่ 23 มีนาคม 2555.................................................................................................................................................................. ประกอบด้วย ผู้อำนวยการโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชด่านซ้าย สาธารณสุขอำเภอด่านซ้าย นางเปรมศรี สาระทัศนานันท์ นางสาวเยาวพา สิงห์สถิต นางสาวดาริน จึงพัฒนาวดี นายวัฒนา ทองปัสโณว์ นายสมัคร ศรีบุตตา นายสุรชัย สิทธิศักดิ์ นางรุ่งนิรันดร์ แก้ววงศ์ นางศศิวรีย์ เนตรผง นายอำนวย อิทธิวรากุล ว่าที่ ร. ต. เดชา สายบุญตั้ง นายสถาพร บัวระพา บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขอำเภอ (คปสอ. )

คณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขอำเภอ (คปสอ.)ด่านซ้าย: คณะกรรมการ คปสอ.

บูรณาการงานสาธารณสุขในระดับอำเภอ ระหว่างโรงพยาบาลชุมชน (รพช. ) กับ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ (สสอ. ) โดยมีสถานีอนามัย (สอ. ) อยู่ภายใต้การบริหารงานของ สสอ. เข้าด้วยกัน ด้วยเพราะเหตุว่าโครงสร้างการบริหารที่แยกขากัน แรกเริ่มเดิมทีเมื่อคิดจะบูรณาการงานสาธารณสุขในระดับอำเภอ ระหว่างโรงพยาบาลชุมชน (รพช. ) โดยมีสถานีอนามัย (สอ. เข้าด้วยกัน ด้วยเพราะเหตุว่าโครงสร้างการบริหารที่แยกขากัน กล่าวคือ สสอ. ขึ้นตรงต่อนายอำเภอ แต่ รพช. ขึ้นตรงต่อสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด แล้วทั้ง 2 หน่วยงานนี้ค่อยไปบรรจบที่ผู้ว่าราชการจังหวัด (แต่มอบอำนาจบางส่วนให้ นพ. สสจ. ) การดำเนินงานในพื้นที่อำเภอจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีคณะทำงานขึ้นมาเพื่อประสานภารกิจด้านสาธารณสุขเพื่อให้บรรลุผลตามโครงการสุขภาพดีถ้วนหน้า (Health for All) ซึ่งเป็นนโยบายหลักในขณะนั้น กระทรวงสาธารณสุขจึงได้มีหนังสือที่ สธ. 0217/สช. /ว. 12 ลงวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2526 สั่งการให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาสาธารณสุขระดับอำเภอ (กพ. สอ. ) โดยให้องค์กรนี้มีหน้าที่รับผิดชอบดำเนินการเกี่ยวกับการประสานแผนงานสาธารณสุขระดับอำเภอ ประสานการปฏิบัติงานรวมทั้งช่วยติดตามและประเมินผลงานสาธารณสุขในภาพรวมของอำเภอ แต่ผลการดำเนินงานโดย กพ.

สถานีอนามัย เป็นสถานบริการสาธารณสุขระดับต้นของกระทรวงสาธารณสุข และเป็นหน่วยงาน อยู่ใต้บังคับบัญชาของสาธารณสุขอำเภอ โดยมีคณะกรรมการ ประสานงานสาธารณสุขระดับอำเภอ ( คปสอ. ) เป็นองค์กรประสานงาน และสนับสนุนการดำเนินงาน ให้บรรลุเป้าหมายตามนโยบายของ กระทรวงสาธารณสุขมีวิวัฒนาการดังนี้ พ. ศ. 2456 มีการจัดตั้ง "โอสถสภา" ( โอสถศาลา หรือโอสถสถาน) ขึ้นในบางจังหวัดให้เป็นทั้งสถานที่ บำบัดโรคและสำนักงานของแพทย์สาธารณสุข พ. 2475 ได้เปลี่ยนแปลงชื่อเป็น "สุขศาลา" ระหว่างที่ยังเป็น "สุขศาลา" อยู่นั้น ในท้องที่ที่เป็นชุมชน หนาแน่น ราชการส่งแพทย์ไปประจำเพื่อให้บริการแก่ประชาชน "สุขศาลา" ประเภทนี้เรียกว่า เป็น "สุขศาลาชั้นหนึ่ง" ส่วน "สุขศาลาชั้นสอง" คือ สุขศาลาที่ไม่มีแพทย์ประจำ พ. 2485 มีการสถาปนากระทรวงสาธารณสุข กรมการแพทย์รับโอน "สุขศาลาชั้นหนึ่ง " ที่ตั้งอยู่ใน จังหวัดและอำเภอใหญ่ ๆ บางแห่งไปปรับปรุงเป็นโรงพยาบาลประจำจังหวัด และโรงพยาบาล อำเภอ บางส่วนเทศบาลรับไปดำเนินการ " สุขศาลาชั้นหนึ่ง " ที่มิได้โอนไปอยู่กับเทศบาลและ มิได้รับการยกฐานะเป็นโรงพยาบาล อยู่ภายใต้การดูแลของ กรมอนามัยซึ่งต่อมา " สุขศาลา ชั้นหนึ่ง " เหล่านี้พัฒนามาเป็น " สถานีอนามัยชั้นหนึ่ง " พ.

  1. เช่า ที่ ขาย ของ ปทุมธานี
  2. ค ป สอ หมาย ถึง อะไร
  3. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขระดับอำเภอ (คปสอ.) ปี 2561
  4. โคก หนอง นา โมเดล กรมการ พัฒนา ชุมชน
  5. พนา สิริ อ พาร์ ท เม้น ท์
  6. คณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขอำเภอ (คปสอ.)ด่านซ้าย: คณะกรรมการ คปสอ.
  7. ดาวไลท์ติดลอย / โคมติดเพดาน | L&E
benz e200 ngt มือ สอง ราคา

จาก กพ.สอ. มาเป็น คปสอ. ในระบบสุขภาพระดับอำเภอ - GotoKnow

ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ ในขณะที่ความจำเป็นต้องประสานงานกันในระดับอำเภอเป็นความจำเป็นอย่างยิ่ง ก็นำไปสู่การประชุมเชิงปฏิบัติการระหว่าง ผู้แทน สสอ. และผู้แทน รพช. ฝ่ายละ 21 คน จนได้ข้อสรุปเป็นรูปแบบที่เหมาะสมใหม่ คือเป็นองค์กรคณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขระดับอำเภอ (คปสอ. ) หรือชื่อในภาษาอังกฤษคือ District Heallth Coordinating Committee: DHCC และองค์กรนี้ก็ยังมีอยู่จนมาถึงปัจจุบันนี้ การแต่งตั้งให้แต่งตั้งโดยผู้ว่าราชการจังหวัด มีอายุคราวละ 2 ปี (แรกเริ่ม 1 ปี) โครงสร้างประกอบด้วย ผอ. รพช. และ สสอ. ท่านหนึ่งท่านใดเป็นประธาน ที่เหลือเป็นรองประธาน สำหรับเลขานุการ/ผู้ช่วยเลขานุการ เลือกจากผู้แทนของ รพช. และ สสอ. ฝ่ายละ 1 คน คณะกรรมการรวมทั้งหมดแล้ว ไม่ควรเกิน 12 คน หากมีหน่วยงานอื่นด้วยนอกจาก สอ. /สสอ. และรพช. แล้ว ก็จะมีเพิ่มได้อีกไม่ควรเกิน 3 คน ในช่วงหลังมีการเพิ่มตัวแทน อสม. และตัวแทนประชาชนอีกอย่างละ 1 คน ด้วย สำหรับบทบาทและหน้าที่เฉพาะของ คปสอ. (ไม่นับรวม CUP Board) ที่สรุปได้ในปัจจุบัน คือ 1. ร่วมวางแผนพัฒนาและแผนปฏิบัติงานสาธารณสุขของอำเภอ 2. ดำเนินงานร่วมกันตามแผนพัฒนาและแผนปฏิบัติงานสาธารณสุขของอำเภอ 3.

2525 มีการยกฐานะสำนักงานผดุงครรภ์ ทั้งหมดกว่า 1, 400 แห่ง ขึ้นเป็นสถานีอนามัยทำให้มีจำนวนสถานีอนามัย เพิ่มขึ้นในปีดังกล่าว ผังวิวัฒนาการสถานีอนามัยจากอดีตถึงปัจจุบัน สุขศาลาชั้น 1 สุขศาลาชั้น 2 ก่อน พ. 2485 สถานีอนามัยชั้น 1 พ. 2497 สถานีอนามัยชั้น 2 พ. 2495 ศูนย์การแพทย์อนามัยชนบท พ. 2515 สถานีอนามัย พ. 2515 ศูนย์การแพทย์และอนามัย พ. 2517 โรงพยาบาลอำเภอ พ. 2518 โครงการ ทสอ. พ. 2535 ต่อมาในปี พ.

ค ป สอ หมาย ถึง อะไร

ติดตาม ควบคุม กำกับ นิเทศ และประเมินผลงานร่วมกันตามแผนงานโครงการที่วางไว้ 4. ประสานงานและสนับสนุนแผนงาน/โครงการพิเศษตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข จังหวัด และอำเภอ 5. จัดตั้งและดำเนินงานศูนย์ข้อมูลข่าวสารสาธารณสุขระดับอำเภอ 6. งานอื่น ๆ ที่ คปสอ. เห็นสมควรและมีมติเห็นชอบร่วมกัน ที่นี้ท่านพอจะมองเห็นอะไรบางอย่างใช่ไหมครับ คือองค์กรนี้ไม่มีการบริหารจัดการทรัพยากรสาธารณสุขในพื้นที่ เป็นองค์กรทางวิชาการที่ทำหน้าที่ประสานงานร่วมกัน ส่วนการบริหารจัดการต่าง ๆ ผู้บริหารหน่วยงานก็รับไปดำเนินการต่อ ซึ่งมาถึงวันนี้เราจะได้ยินคำว่า "CUP Board" หรือ "คณะกรรมการบริหารเครือข่ายหน่วยบริการ" บ่อยขึ้น บางครั้งใช้ปน ๆ กันไปกับ คปสอ. แล้ว คปสอ. ยังมีอยู่อีกหรือไม่อย่างไร คน ๆ เดิมที่เป็นกรรมการแล้วมาเข้าประชุมในแต่ละครั้ง "งง" เมื่อประชุมไปก็ว่าด้วยเรื่องของ "CUP Board" อยู่ ๆ ก็เปลี่ยนเป็นเรื่องของ "คปสอ. " โดยเฉพาะยิ่งในปัจจุบันมีทรัพยากร (เงินงบประมาณ UC) ไหลลงมาที่เครือข่ายหน่วยบริการ (Contracting Unit of Primary Care: CUP) ตามโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (30 บาท ช่วยคนไทยห่างไกลโรค) แต่โดยส่วนตัวผมแล้วจากประสบการณ์การทำหน้าที่เป็นเลขานุการ คปสอ.