บุรีรัมย์ ค. ศรีสะเกษ ง. อุบลราชธานี 10. ข้อใดกล่าว ไม่ถูกต้อง ก. การรำภาคอีสานเรียกว่าฟ้อน ข. ผู้ชายนิยมสวมเสื้อม่อฮ่อมในการ แสดง ค. ผู้หญิงนิยมนุ่งผ้าซิ่นมีเชิงคลุมเข่า เล็กน้อย ง. การแสดงอาจมีอุปกรณ์ประกอบ หรือไม่มีก็ได้

หน้า 2 แบบทดสอบก่อนเรียน - kruwhan138

1. ข้อใดคือความหมายของนาฏศิลป์พื้นเมือง ก. การแสดงลีลาท่าทางในการรำ ข. การแสดงที่เน้นความเป็น เอกลักษณ์เฉพาะถิ่น ค. การดัดมือ แขน ขาในการเรียน นาฏศิลป์ไทย ง. กิริยาอาการต่าง ๆ ที่ปฏิบัติเกี่ยวกับนาฏศิลป์ไทย 2. ข้อใด ไม่ใช่ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการแสดงนาฏศิลป์พื้นเมือง ก. คติความเชื่อ ข. สภาพภูมิศาสตร์ ค. การทำมาหาเลี้ยงชีพ ง. ลักษณะหน้าตา ผิวพรรณ 3. นาฏศิลป์พื้นเมืองของภาคใดมีลักษณะเชื่องช้า ละเมียดละไม ก. ภาคเหนือ ข. ภาคกลาง ค. ภาคใต้ ง. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 4. การแสดงของภาคใดมีลักษณะเป็นการเต้นประกอบดนตรี เน้นลีลาการเคลื่อนไหวของมือและเท้าเป็นหลัก ง. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5. ข้อใด ไม่จัด เป็นการแสดงของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ก. รำตังหวาย ข. ฟ้อนภูไท ค. ฟ้อนเงี้ยว รำโปงลาง 6. ข้อใดเป็นชื่อเรียกการแสดงรำพื้นเมืองของภาคอีสาน ก. เซิ้ง ข. ฟ้อน ค. รำ ง. ระบำ 7. ข้อใดเป็นการรำเพื่อขอฝน ก. รำกันตรึม ข. เซิ้งบั้งไฟ ค. รำคูณลาน ง. รำตังหวาย 8. ข้อใด ไม่ต้อง ใช้อุปกรณ์ประกอบการรำ ก. เซิ้งสวิง ข. เซิ้งกระติบ ค. รำตังหวาย ง. เซิ้งแหย่ไข่มดแดง 9. ข้อใด ไม่จัด เป็นกลุ่มวัฒนธรรมท้องถิ่น อีสานใต้ ก. สุรินทร์ ข.

  • แบบทดสอบ ชุดที่ 2
  • นโยบาย การ จัดการ ศึกษา ปฐมวัย 2562
  • Acer spin 5 ราคา 2018 review

แบบทดสอบหลังเรียน คำชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุด 1. ศิลปะแห่งการละคร ฟ้อนรำ และดนตรีเป็นคุณสมบัติในข้อใด 2. ความรู้สึกที่เกิดจากอารมร์ตามธรรมชาติของมนุษย์ทำให้เกิดผลในข้อใด ก. ความเป็นมนุษย์ ข. การเลียนแบบ ค. ลีลาในการแสดง ง. ความเชื่อ 3. ตำนานการฟ้อนรำได้รับอิทธิพลผ่านชนชาติใด ก. ชวาและเขมร ข. อินเดีย ค. จีนและชวา ง. เขมรและอินเดีย 4. เรื่องใดที่โขนนิยมมาแสดง ก. เรื่องอิเหนา ข. เรื่องสังข์ทอง ค. เรื่องขุนช้างขุนแผน ง. เรื่องรามเกียรติ์ 5. ข้อใดคือลักษณะของ "ละคร" ก. การร่ายรำตอนหนึ่งตอนใดก็ได้ ข. การร่ายรำที่เป็นเรื่องราว ค. การร่ายรำที่ประดิษฐ์ขึ้นใหม่ ง. การร่ายรำที่เป็นมาตรฐาน 6. รำ และระบำ มีลักษณะต่างกันอย่างไร ก. เพลงที่นำแสดง ข. จำนวนของผู้แสดง ค. เวลาในการแสดง ง. โอกาสที่นำมาแสดง 7. ข้อใดข้อสิ่งที่ทำให้การแสดงพื้นเมืองมีความแตกต่างกัน ก. วัฒนธรรมในแต่ละภูมิภาค ข. ภาษาแต่ละท้องถิ่น ค. ความเชื่อ ง. จำนวนประชากร 8. การแสดงพื้นเมืองภาคเหนือ คือข้อใด ก. ระบำดอกบัว ข. ฟ้อนเล็บ ค. รองเง็ง ง. รำฉุยฉาย 9. ศิลปะการแสดงที่ความสอดคล้องกับวิถีชีวิตของบภาคกลางคือข้อใด ก. ฟ้อนสาวไหม ข.

ระบำเก็บใบชา ค. การเล่นเพลงเกี่ยวข้าว ง. เซิงแหย่ไข่มดแดง 10. ดนตรีประกอบการแสดงรำและระบำมาตรฐาน ใช้เครื่องดนตรีประเภทใด ก. วงมโหรี ข. วงเครื่องสาย ค. วงเครื่องสายผสม ง. วงปี่พาทย์